โรคอัลไซเมอร์เกิดจากอะไร ?
อัลไซเมอร์เป็นสาเหตุของโรคสมองเสื่อมที่พบได้บ่อยที่สุด ซึ่งมีจำนวนมากถึง 60-80% ของโรคสมองเสื่อมทั้งหมด โดยสาเหตุเกิดจากการที่มีสาร
อันตรายของโรคอัลไซเมอร์
ผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์จะมีอาการที่แตกต่างกันออกไป หลัก ๆ คือจะมีอาการหลงลืม ซึ่งมักจะเข้าใจผิดว่าเกิดขึ้นเองตามอายุที่มากขึ้น แต่ทราบหรือไม่ว่าอัลไซเมอร์ไม่ใช่เป็นเพียงเรื่องของความจำเท่านั้น แต่ยังทำให้เสี่ยงต่อการเป็นโรคทางจิตเวชอีกด้วย เพราะอัลไซเมอร์จะส่งผลให้มีอาการหลอน คิดหวาดระแวง หงุดหงิด ฉุนเฉียว ก้าวร้าว ไม่อยู่ในโลกของความเป็นจริง โดยอาจคิดว่าจะมีคนมาฆ่าหรือมาขโมยของ โดยผู้ป่วยอัลไซเมอร์ในระยะที่เป็นมากขึ้นจะส่งผลกระทบกับทั้งตัวผู้ป่วยเอง ครอบครัว คนรอบข้าง และอาจถึงขั้นเสียชีวิตได้ ซึ่งอาการเหล่านี้ยากต่อการดูแลและการใช้ชีวิตของผู้ป่วยในสังคม
อาการของโรคอัลไซเมอร์ในระยะต่าง ๆ
อาการของโรคอัลไซเมอร์จะค่อยเป็นค่อยไปในระยะเวลาหลายปี
ในกรณีที่ผู้ป่วยเริ่มมีอาการผิดปกติหรือสงสัยว่าจะเป็นโรคสมองเสื่อม ควรพาไปพบแพทย์เพื่อตรวจและวินิจฉัยโรค โดยต้องทำความเข้าใจว่าโรคอัลไซเมอร์เป็นโรคที่รักษาไม่หายแต่ดูแลได้ นั่นก็คือการดูแลเอาใจใส่จากคนในครอบครัว ที่จะทำให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดี และมีความสุขได้
ยาที่ใช้รักษาอัลไซเมอร์
คือยาในกลุ่ม Cholinesterase inhibitor ได้แก่
อัลไซเมอร์เป็นสาเหตุของโรคสมองเสื่อมที่พบได้บ่อยที่สุด ซึ่งมีจำนวนมากถึง 60-80% ของโรคสมองเสื่อมทั้งหมด โดยสาเหตุเกิดจากการที่มีสาร
- แอมีลอยด์พราก (amyloid plaque) ซึ่งเป็นโปรตีนสะสมผิดปกติ และมี
- อะซีทิลคอลีน (acetylcholine) ซึ่งเป็นสารสื่อประสาทที่สร้างขึ้นภายในสมอง ช่วยในการเคลื่อนไหวกล้ามเนื้อ การคิด กระบวนการทำงานของความจำ และความสามารถของสมองในการเก็บข้อมูลไว้ชั่วคราวลดลง ส่งผลให้เซลล์สมองเสื่อม
อันตรายของโรคอัลไซเมอร์
ผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์จะมีอาการที่แตกต่างกันออกไป หลัก ๆ คือจะมีอาการหลงลืม ซึ่งมักจะเข้าใจผิดว่าเกิดขึ้นเองตามอายุที่มากขึ้น แต่ทราบหรือไม่ว่าอัลไซเมอร์ไม่ใช่เป็นเพียงเรื่องของความจำเท่านั้น แต่ยังทำให้เสี่ยงต่อการเป็นโรคทางจิตเวชอีกด้วย เพราะอัลไซเมอร์จะส่งผลให้มีอาการหลอน คิดหวาดระแวง หงุดหงิด ฉุนเฉียว ก้าวร้าว ไม่อยู่ในโลกของความเป็นจริง โดยอาจคิดว่าจะมีคนมาฆ่าหรือมาขโมยของ โดยผู้ป่วยอัลไซเมอร์ในระยะที่เป็นมากขึ้นจะส่งผลกระทบกับทั้งตัวผู้ป่วยเอง ครอบครัว คนรอบข้าง และอาจถึงขั้นเสียชีวิตได้ ซึ่งอาการเหล่านี้ยากต่อการดูแลและการใช้ชีวิตของผู้ป่วยในสังคม
อาการของโรคอัลไซเมอร์ในระยะต่าง ๆ
อาการของโรคอัลไซเมอร์จะค่อยเป็นค่อยไปในระยะเวลาหลายปี
- ระยะแรก จะมีอาการความจำเสื่อม ขี้ลืมมากขึ้น เช่น ลืมเหตุการณ์ที่เพิ่งเกิดขึ้น ลืมบทสนทนา ย้ำคิดย้ำทำ ถามคำถาม เดิมหลายครั้ง พูดซ้ำเรื่องเดิม มีปัญหาในการคิดคำพูด ลืมชื่อสถานที่และวัตถุ สับสนทิศทาง และอารมณ์แปรปรวน
- ระยะกลาง จะมีอาการบกพร่องทางความจำและการเรียนรู้มากขึ้น เช่น จำชื่อคนไม่ได้ พูดไม่คล่อง มึนงง ไม่ทราบวันและเวลา มีปัญหาทักษะการใช้เครื่องมือ เช่น โทรศัพท์ โทรทัศน์ เครื่องใช้ไฟฟ้าต่าง ๆ รวมถึงอาการไว้ของผิดที่ หลงทิศทาง เดินออกจากบ้านไปโดยไร้จุดหมาย และเริ่มมีภาวะหลอน
- ระยะสุดท้าย อาการจะรุนแรงขึ้น เห็นภาพหลอน ภาพลวงตา หวาดกลัว เคี้ยวอาหารและกลืนลำบาก น้ำหนักลด พฤติกรรมก้าวร้าว กลั้นปัสสาวะอุจจาระไม่ได้ ทำกิจวัตรประจำวันเองไม่ได้ต้องมีคนช่วย เดินไม่ได้ สื่อสารลำบาก
ในกรณีที่ผู้ป่วยเริ่มมีอาการผิดปกติหรือสงสัยว่าจะเป็นโรคสมองเสื่อม ควรพาไปพบแพทย์เพื่อตรวจและวินิจฉัยโรค โดยต้องทำความเข้าใจว่าโรคอัลไซเมอร์เป็นโรคที่รักษาไม่หายแต่ดูแลได้ นั่นก็คือการดูแลเอาใจใส่จากคนในครอบครัว ที่จะทำให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดี และมีความสุขได้
ยาที่ใช้รักษาอัลไซเมอร์
คือยาในกลุ่ม Cholinesterase inhibitor ได้แก่
- donepezil
- rivastigmine
- galantamine
- memantine ในกรณีที่ผู้ป่วยมีอาการทางจิต หรือพฤติกรรมที่ค่อนข้างรุนแรง แพทย์จะพิจารณาให้ยาทางจิตเวชควบคู่ไปด้วย
- นั่นก็คือการดูแลสุขภาพชีวิติของผู้ป่วยโดยรวม เช่น
- การพักผ่อนให้เพียงพอ
- ดื่มน้ำให้มาก ๆ
- การออกกำลังกาย
- และให้ความสำคัญกับสภาพจิตใจของผู้ป่วย ทั้งนี้การที่คนในครอบครัวเข้าใจโรคและเข้าใจผู้ป่วย จะช่วยทำให้การดูแลผู้ป่วยอัลไซเมอร์เป็นไม่ใช่เรื่องยากอีกต่อไป
